วันอังคารที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2551


อยากดูแล เมื่อยามเธอหมอง เศร้า


อยากเป็นเงา เมื่อเธอเหงาใจ


อยากเดินเคียง เมื่อเธอต้องการ ผู้ใด


.... ข้าง กาย สักคน หากว่าเธอ ท้อ แท้ วันใด


ถูกสิ่งใด ทำใจ ร้อนรน


หากต้องการ มีใคร ซักคน ที่พร้อมให้ความ อุ่นใจ


ขอ เป็นคนหนึ่ง ซึ่งคอยห่วงใย


แต่เธอ เรื่อยไป แม้ จะเป็นคน สุดท้าย


ที่ เธอ จะมอง แม้ จะเป็นคน สุดท้าย ที่ เธอ จะมอง


แม้ จะเป็นคน สุดท้าย ที่ เธอ จะมอง
จาก www.kapook.com

นั่นสินะ ทำไม
ใยยังเหงาขนาดเขา อยู่ด้วย ไม่ช่วยหายยังหงอยเหงา ซึมเศร้า
ดังเดียวดายเหมือนฝันร้าย ทำลายจิต จึงบิดเบือนหรือเพราะเขา เคยหาย
ทิ้งให้เหงาเคยปล่อยเรา ทุกข์ใจ ดังไร้เพื่อนเหงาจึงแทรก ฝังใจ
ไม่ลางเลือนเหงาเปรียบเพื่อน สนิทนัก ยากจะคลาย.........
จาก www.kapook.com

ประวัติผู้สอน

...... ผศ.วิวรรธน์ จันทร์เทพย์ ..... มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง, อ.จอมบึง จ.ราชบุรี

.....ป.กศ.สูง วิชาเอกดนตรีศึกษา จาก วค.บ้านสมเด็จพระยา

...ปริญญาตรี กศ.บ.(เกียรตินิยม)มศว.ประสานมิตร...ปริญญาโท ค.ม.
(โสตทัศนศึกษา)จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย...นักศึกษาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน (กลุ่มเทคโนโลยีทางการศึกษา)มหาวิทยาลัยศิลปากร

บทที่ 3 การสื่อความหมาย

...........การสื่อความหมาย คือ การถ่ายโยงความคิดหรือความรู้สึกให้เห็นพ้องต้องกันของบุคคลหนึ่งไปยังบุคคลหนึ่ง โดยผ่านช่องทางต่างๆ เช่น การพูดคุย กริยา ท่าทาง การแสดงสีหน้า ภาษาเขียน ภาษาภาพองค์ประกอบของการสื่อความหมาย

........1. ผู้ส่ง อาจเป็นเพียง 1 คน หรือกลุ่มคนก็ได้ ซึ่งเป็นผู้นำเรื่องราวข่าวสาร เพื่อส่งไปยังผู้รับ โดยวิธีการใดวิธีการหนึ่งในการเข้ารหัสเพื่อให้ผู้รับเข้าใจ
........2. สาร เนื้อหาของสารหรือสาระของเรื่องราวที่ส่งออกมา

........3. สื่อหรือช่องทางในการนำสาร ได้แก่ ตัวกลางที่ช่วยถ่ายทอดเหตุการณ์ บทเรียน ที่ผู้ส่งต้องการให้ไปถึงผู้รับ สื่อที่ใช้ในการถ่ายทอดอาจเป็นภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษามือ และภาษากายก็ได้

........4. ผู้รับหรือกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้รับข่าวสารเรื่องราวต่างๆจากผู้ส่ง

........5. ผล ได้แก่ การรับรู้ข่าวสารของผู้รับ ซึ่งผู้รับจะเข้าใจข่าวสารมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับสิ่งที่ใช้ในสถานการณ์และทัศนคติของผู้รับในขณะนั้น

........6. ข้อมูลย้อนกลับ ได้แก่ การแสดงกิริยาตอบสนองของผู้รับต่อข้อมูลข่าวสารให้ผู้ส่งรับรู้การสื่อความหมาย จำแนกเป็น 3 ลักษณะ


.........1. วิธีการของการสื่อความหมายวจนภาษา หมายถึง การสื่อความหมายโดยใช้ภาษาพูดอวจนภาษา หมายถึง การสื่อความหมายโดยใช้ภาษากาย ภาษาเขียน และภาษามือการเห็นหรือการใช้จักษุสัมผัส หมายถึง การสื่อความหมายโดยใช้ภาษาภาพ

.........2. รูปแบบการสื่อความหมายการสื่อความหมายทางเดียว เช่น การสอนโดยใช้สื่อทางไกลระบบออนไลน์การสื่อความหมายสองทาง เช่น การคุย MSN การคุยโทรศัพท์ การเรียนการสอนในชั้นเรียน

.........3. ประเภทของการสื่อความหมายการสื่อความหมายในตนเอง เช่น การเขียน การค้นคว้า การอ่านหนังสือการสื่อความหมายระหว่างบุคคล เช่น การคุยโทรศัพท์ การคุย MSNการสื่อความหมายกับกลุ่มชน เช่น ครูสอนนักเรียน การบรรยายของวิทยากรกับผู้เข้าอบรมการสื่อความหมายกับมวลชน เช่น การแถลงข่าวทางวิทยุ โทรทัศน์การเรียนรู้กับการสื่อความหมายความรู้ความเข้าใจในทฤษฎีและหลักการของการสื่อความหมาย ที่ประกอบด้วยผู้ให้

........ความรู้(ผู้ส่ง)

........เนื้อหาวิชา(สาร)

........ผู้เรียน(ผู้รับ)